|
|
|

Link ที่น่าสนใจ |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชากรของเทศบาลตำบลดีลัง ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชสำคัญที่ปลูก ได้แก่ นาข้าว ไร่งา
ข้าวโพด กระเจี๊ยบ ทานตะวัน อ้อย มันสำปะหลัง ฯลฯ อาชีพที่ทำรายได้รองลงมา ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์ที่สำคัญ ได้แก่ การเลี้ยงโคนม
โคเนื้อ สุกร ไก่ รับจ้างทั่วไปและค้าขาย เป็นต้น |
|
|
|
|
|
 |
|
ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลตำบลดีลัง ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม |
|
|
|
 |
|
ลักษณะภูมิอากาศของเทศบาลตำบลดีลัง มี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว |
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนในตำบลดีลังส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีข้อมูลศาสนสถาน ดังนี้ |

 |
วัด จำนวน 7 แห่ง |
|

 |
วัดจันทรังษี |
ที่ตั้ง ม.4 ตำบลดีลัง |
|

 |
วัดพนมวัน |
ที่ตั้ง ม.3 ตำบลดีลัง |
|

 |
วัดภาวนาสิตาราม |
ที่ตั้ง ม.1 ตำบลดีลัง |
|

 |
วัดมรกตวราวาส |
ที่ตั้ง ม.4 ตำบลดีลัง |
|

 |
วัดดีลัง |
ที่ตั้ง ม.5 ตำบลดีลัง |
|

 |
วัดสุวรรณวัฒนาราม |
ที่ตั้ง ม.6 ตำบลดีลัง |
|

 |
วัดพรหมรังษี |
ที่ตั้ง ม.6 ตำบลดีลัง |

 |
ศาลเจ้า จำนวน 1 แห่ง |
|

 |
ศาลเจ้าแป๊ะกง |
ที่ตั้ง ม.1 ตำบลดีลัง |
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
|

 |
ช่วงเดือนเมษายน เทศกาลสงกรานต์งานสรงน้ำพระและรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ |

 |
ช่วงเข้าพรรษาทำบุญตักบาต ออกพรรษามีการตักบาตรเทโว |

 |
ประเพณีก่อพระเจดีย์ข้าวเปลือก ประเพณีการละเล่นผีกระด้ง (ซอยญวณ) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|